p. 2
2 ผรู ิเร่ิมงานรณรงค...มาอยางตอเนื่อง
[close]
p. 3
บศ.ทนพบ.ปรรระณกิตาวธากิทสีาารธก:กจิ
“เรื่องการรณรงคเ พ่ือการไมส ูบบุหร่ีนี่ ฉนั เหน็ ดวย”
วนั ท่ี 7 พฤศจกิ ายน 2559 เปน วนั ครบรอบ 30 ปข อง การทาํ งานรณรงคไมสบู บหุ รี่ แมเ มอ่ื 30 ปกอ น คนไทยสวน ใหญก็รูจักพิษภัยของยาสูบดี จากการท่ีสังคมไทยมีการสูบ บหุ รมี่ านานตงั้ แตกอ นสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ท่ีมีการตั้งโรงงาน ผลิตบุหรซ่ี ิกาแรตในเมืองไทย
การเริ่มรณรงคโดยโครงการรณรงคเพ่ือการไมสูบบุหรี่ เมื่อ พ.ศ.2529 จึงไดรับการตอบรับจากกระแสสังคมที่ดีมาก ดงั ปรากฏในบทบรรณาธิการนติ ยสารหมอชาวบา น ทีเ่ ขียนโดย ศาสตราจารย นายแพทยป ระเวศ วะสี เมอ่ื เดอื นตลุ าม พ.ศ.2531
สมเดจ็ พระสงั ฆราชกบั การไมส บู บหุ ร่ี นายกรฐั มนตรี กบั การไมส บู บหุ ร่ี การวง่ิ กบั การไมส บู บหุ รี่ ผวู า ฯ กรงุ เทพฯ กบั การไมส ูบบหุ ร่ี
การรณรงคเ พอื่ การไมส บู บหุ ร่ี ดจู ะเปน ผลมากขนึ้ ทกุ ทๆี มฝี า ยตา งๆ เขารณรงคใ นรปู แบบตา งๆ สถานทร่ี าชการหลายแหง ไดประกาศเปน เขตปลอดบหุ ร่ี
สมเด็จพระสังฆราชประทานสัมภาษณเรื่อง การอด บุหรี่ทางโทรทัศนและประทานพระโอวาทเร่ืองโทษของบุหร่ี บอยๆ
เดือนตุลาคม ชมรมแพทยชนบทก็จัดการว่ิงเชอ่ื มโยง กันทกุ ภาคของประเทศไทยเพื่อรณรงคการไมสบู บหุ ร่ี โครงการ น้ีโรงพยาบาลอําเภอทั่วประเทศ โรงพยาบาลอื่นๆ กระทรวง สาธารณสุขและองคการอนามัยโลก จับมือกันรณรงคเปนการ ใหญท้งั หมดจะว่ิงมาพบกนั ที่ กทม. ของผูวา ฯ จาํ ลอง ศรีเมือง คนดมี ศี ีลธรรม ซึง่ ตอตา นอบายมุขและความไมด ที ุกรูปแบบ
ผบู ญั ชาการทหารกไ็ ดข า ววา หยดุ เหลา หยดุ บหุ รไ่ี ปแลว
ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท ประหยัดเงินของ ประเทศไทยไปกวา 2,000 ลานบาท ดวยการไมอนุมัติการขอ ปรับปรุงโรงงานบุหร่ีที่เสนอเขาท่ีประชุมคณะรัฐมนตรี “ทําไม
“
“เ ร า ไ ม ค ว ร ห า เ งิ น จ า ก การทําใหสุขภาพของ คนไทยเสีย
ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท
จะขอเงินเก่ียวกับการผลิตบุหรี่ในเมื่อเรากําลังรณรงคไมสูบ บุหรกี่ นั ” และวา “เราไมค วรหาเงินจากการทาํ ใหสุขภาพของ คนไทยเสยี ” เราภูมิใจทม่ี นี ายกรัฐมนตรีท่ีสามารถพูดไดเชน น้ี
การเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไมดใี หเ ปนดี เชน เรอื่ งการไมสูบ บหุ รน่ี เ่ี ปน ของยาก การทคี่ นไทยสามารถรว มมอื กนั รณรงคเ รอ่ื งน้ี ใหเ กดิ ผลได จะเปนกาํ ลังใจใหรว มมอื กนั แกป ญ หาอยางอนื่ ๆ อีก ตอ ไป ในอนาคตใครสูบบุหรีจ่ ะเปนคนลาสมัย คนสมยั ใหมต อง บงั คบั ใจใหทาํ ความดีได
กอ นจบ ผเู ขยี นไดทราบมาดวยความยนิ ดวี า พระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงมรี ับส่งั กบั ศ.นพ.อรรถสิทธิ์ เวชชา ชีวะ วา “เร่อื งการรณรงคเ พอื่ การไมสูบบุหรี่น่ี ฉนั เห็นดวย”
สามสบิ ปผ า นไป แมป ระเทศไทยจะสามารถตรงึ จาํ นวน ผูส ูบบุหรไ่ี มใ หมากขน้ึ ตามจาํ นวนประชากรทเ่ี พิม่ ข้นึ แตเ รายงั ตอ งพยายามกนั ตอ ไป เพอื่ ใหอ ตั ราการสบู บหุ รข่ี องชายไทยลดลง จาก 40% ซงึ่ ยงั สงู กวา อตั ราการสบู เฉลย่ี ของชายทว่ั โลกทเี่ ทา กบั 34.6% ในขณะน้ี
เราจะสืบสานพระราชปณิธานพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ท่ีไดใหกําลังใจพวกเราตั้งแต พ.ศ.2531 ครับ
SMART 11
[close]
p. 4
ขับเคลอ่ื นนโยบาย
ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ
รกา างรพร.วร.มบผ.คลวกับดคนัมุ ผลิตภัณฑยาสูบ
งานสาํ คญั ตลอดปท่ผี า นมา มลู นธิ ริ ณรงคเพื่อการไมสบู บุหร่ี ไดร วมแรงรว มใจกบั ภาคเี ครือ
ขายทั่วประเทศ เพื่อสนับสนุนกระทรวงสาธารณสุขในการผลักดันราง พ.ร.บ.ควบคุม ผลิตภัณฑย าสบู ฉบับใหม เรยี กวา เปน พนั ธกจิ หลักของมูลนธิ ิฯ เลยก็วา ได
เพราะมาตรการที่เพ่ิมเติมในรางกฎหมายใหม จะทําใหการปองกันเด็กและ เยาวชนจากการเสพตดิ บุหรี่ มีประสทิ ธภิ าพมากข้นึ
มอบรายชื่อ 10.9 ลานรายชอื่ ใหแกร องประธาน สนช. คนที่ 1 วนั ท่ี 30 พฤษภาคม 2558
เยาวชนขอรองนายก วันที่ 13 มกราคม 2558
มอบชอดอกไมแ สดงความขอบคณุ ใหแกร องประธาน สนช. คนท่ี 1 ทีร่ า ง พ.ร.บ. ผา นวาระที่ 1 ณ อาคารรัฐสภา เมือ่ วนั ท่ี 11 พฤศจิกายน 2559
2 SMART
[close]
p. 5
รอของขวญั ลาํ้ คา จากรฐั บาล
กระทรวงสาธารณสุขไดเสนอราง พ.ร.บ.ควบคุม ผลติ ภณั ฑย าสบู พ.ศ....ตอ รฐั บาลตงั้ แตป ลายป พ.ศ.2557 เปนรางกฎหมายเรงดวนลําดับแรก ตามนโยบายที่มอบ หมายใหกระทรวงตางๆ ปรับปรุงกฎหมายท่ีลาสมัย และ ใหเ ปน ไปตามขอ ผกู พันทางกฎหมายระหวา งประเทศ
รา ง พ.ร.บ. ผา นการเห็นชอบจากท่ีประชมุ ครม. พฤษภาคม พ.ศ.2558 หลังจากนั้นก็อยูในขั้นตอนการพิจา รณษของคณะกรรมการกฤษฎกี าจนเสรจ็ สนิ้ เมอื่ มนี าคม พ.ศ. 2559 และกลับเขาสูท่ีประชุม ครม. เม่ือวันท่ี 25 ตุลาคม 2559 และถูกสงตอใหสภานิติบัญญัติแหงชาติ พิจารณา วาระแรก เม่อื วนั ที่ 11 พฤศจกิ ายน 2559
ตามกําหนดแลว กรรมาธิการวิสามัญฯ ที่พจิ ารณา ราง พ.ร.บ. นี้ มเี วลา 60 วนั ในการพิจารณากฎหมายใหเ สร็จ หากไมเสร็จสามารถตอเวลาไดอีก 30 วัน หรือมากกวานั้น หากยังไมเสรจ็
เนอ่ื งจากเปน กฎหมายทป่ี ระชาชน ใหค วามสนใจ มาก ท้ังฝายสนบั สนนุ และฝายทตี่ องการแกไขกฎหมายให ออ นลง จึงมีกรรมาธิการจํานวน 21 คน แทนท่ีจะเปน 15 คน ตามทีก่ ฎหมายทว่ั ไปมี
มีสมาชิก สนช. เสนอแปรญัตติแกไ ขกฎหมาย 9 คน ประเดน็ ทเ่ี สนอแกไ ขสว นใหญก เ็ ปน ประเดน็ ทฝี่ า ยธรุ กจิ ยาสูบเคยคดั คานมาตลอด สองปกวา มาน้ี อาทิ นิยามของ
การสอ่ื สารการตลาด การขอเพม่ิ กรรมการจากฝา ยทเ่ี กยี่ วขอ ง กับธุรกิจยาสูบ การรายงานสวนประกอบผลิตภัณฑยาสูบ มาตรการซองบุหรี่แบบเรียบ การหามทําซีเอสอาร และการ กาํ หนดใหบ รษิ ทั บหุ รตี่ อ งสง รายงานการทาํ การตลาดยาสบู แก รัฐบาล
ซ่ึงประเด็นที่มีการเสนอแปรญัตติน้ี ลวนเปนประเด็น ใหมท่ีปรับปรุงเพิ่มเติมจากกฎหมายเกา ตามขอผูกพันทาง กฎหมายในฐานะที่ไทยเปนรัฐภาคีอนุสัญญาควบคุมยาสูบ องคการอนามัยโลก
จงึ ตอ งเฝา จบั ตาดวู า สาระของรา ง พ.ร.บ.ฯ ทเ่ี หน็ ชอบ โดย ครม.พลเอกประยทุ ธ จันทรโ อชา ที่ประกาศเจตนารมณ วา เปนรัฐบาลปฏิรูป ใหกระทรวงตางๆ ปฏิรูปกฎหมาย สมาชกิ สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง ชาตจิ ะแสดงบทบาทอยา งไรในการ พิจารณารางกฎหมายน้ี
เพราะหากประเด็นที่เพิ่มเติมเขามาในรางกฎหมาย ใหม ถกู แกไ ขไปยง่ิ มากประเดน็ เทา ไหร รา งกฎหมายทก่ี ระทรวง สาธารณสุขตง้ั ใจปรับปรงุ ใหดีกวากฎหมายเกาท่ีใชม า 25 ป ก็ จะยิ่งคลายกฎหมายเกา มากยงิ่ ข้นึ เทา นน้ั แลวประชาชนจะได อะไรจากรา งกฎหมายใหม
จึงหวังวา สภานิติบัญญัติแหงชาติ จะปกปองผล ประโยชนของสว นรวม มากกวา ผลประโยชนของธุรกิจ
SMART 3
[close]
p. 6
ขับเคลอื่ นนโยบาย
ศ.นพ.ประกิต วาทสี าธกกจิ
เครือขายแม 4 ภาค ยื่นหนังสือขอบคุณใหกับ นายแพทยเ จตน ศริ ธรานนท ประธานคณะกรรมการ วสิ ามญั พจิ ารณารา ง พ.ร.บ.ควบคมุ ผลติ ภณั ฑย าสบู เม่อื วนั ท่ี 14 ธนั วาคม 2559
4 SMART
[close]
p. 7
อยา ชวยเขา ทํารายคนไทยมากกวานี้เลย
เมื่อส่ีปกอนบริษัทบุหรี่ยักษใหญฟลลิป มอรริส รวมกับ บริษัทบุหร่ีขามชาติอ่ืนๆ ฟองศาลกรณีที่รัฐบาลออสเตรเลียออก กฎหมายซองบหุ รแ่ี บบเรยี บ ทหี่ า มพมิ พล วดลายสสี นั และโลโก รวม ทัง้ เครื่องหมายการคา บนซองบุหรี่ พิมพไ ดแตชื่อย่หี อ บหุ ร่ี เพื่อลด ความเยา ยวนของซองบุหรีโ่ ดยเฉพาะตอ เด็ก
บริษัทบุหร่ีขามชาติไดงัดกลยุทธตางๆ ออกมาตอสูคดี แตสุดทายศาลออสเตรเลียตัดสินวา กฎหมายซองบุหรี่แบบเรียบ มีความชอบธรรม ไมไดเปนการละเมิดทรัพยสินทางปญญา ไมได ละเมิดเคร่ืองหมายการคา และไมขัดตอกฎหมายระหวางประเทศ พรอ มยกคาํ ฟอ งของบรษิ ทั บหุ ร่ี เพอื่ นผเู ขยี นทเ่ี ปน นกั กฎหมายชาว ออสเตรเลียบอกวา ท่อี อสเตรเลียจะหานกั กฎหมายดๆี ท่จี ะทาํ คดี ใหบ รษิ ทั บหุ รข่ี า มชาตไิ ดย าก เพราะทงั้ สงั คมออสเตรเลยี ไมใ หค วาม เช่อื ถือบรษิ ัทบุหรี่
เพอื่ นคนเดียวกัน เปรยี บเปรยนักวชิ าการ นกั กฎหมายที่ ไปชว ยบรษิ ัทบุหร่ี ขัดขวางรางกฎหมายควบคมุ ยาสบู วา เปนคนที่ มี “shallow conscience,but Deep pocker” แปลเปน ไทย วา “จิตสาํ นกึ ตนื้ แตกระเปาลึก” เน่อื งจากสนิ คา บุหร่ีเสพตดิ และ ทํารายคนสบู จนครงึ่ หนึ่งของคนสูบปว ยและเสียชีวติ กอ นเวลา
และขณะท่ีการทํารายคนของธุรกิจน้ีกําลังเกิดข้ึนและดํา เนินอยู การไปขัดขวางมาตรการควบคุมยาสูบ เชน การขัดขวาง การออกกฎหมายควบคุมยาสูบ ท่ีมีวัตถุประสงคใหคนสูบบุหร่ี นอยลง จึงเทากับเขาไปมีสวนรวมกับบริษัทบุหรี่ในการทํารายคน และการทําใหคนตายดาํ เนนิ ตอไป
เขาเลา ตอวา นักวชิ าการและนักกฎหมายท่เี ขา ไปรับจอ บ บรษิ ทั บหุ รโ่ี ตว า “แมแ ตน กั โทษขอ หาฆา คนตาย ยงั ไดร บั สทิ ธท์ิ จี่ ะมี นกั กฎหมายวา ความให แลว การไปชว ยบรษิ ทั บหุ รเ่ี สยี หายอยา งไร”
คําตอบคือ “ความแตกตา งระหวา งนักโทษทฆี่ าคนตาย กับบรษิ ทั บุหร่ี คอื นกั โทษทฆี่ า คนตาย การกระทําความผิดไดย ุติ ลงแลว ทนายไปใหค าํ ปรกึ ษานกั โทษทก่ี ระทาํ ความผดิ สาํ เรจ็ แลว เพือ่ ไปชวยแกต างหรือหาทางแนะนําลดโทษใหผ ูต อ งหา”
แตก รณี ทนายทไ่ี ปชว ยบรษิ ทั บหุ รี่ บรษิ ทั บหุ รกี่ าํ ลงั ทาํ รา ย คนอยู สนิ คา ของเขากาํ ลงั ฆา คนอยู ทนายไปชว ยบรษิ ทั บหุ รข่ี ดั ขวาง กฎหมายทจ่ี ะทาํ ใหก ารฆา คนโดยสนิ คา บหุ รท่ี าํ ไดย ากขนึ้ บรบิ ทจงึ ตา งกันอยา งสิน้ เชงิ
คาํ ถามสาํ คญั จงึ มวี า เราจะยอมใหท นายไปใหค าํ ปรกึ ษา ขณะท่นี ักโทษกาํ ลังลงมือทํารา ยคน กาํ ลังจะฆา คนอยูห รอื ไม
ซ่ึงก็คือ กรณีที่มีคนไปชวยบริษัทบุหร่ีคัดคานการออก กฎหมายควบคุมยาสบู
นักวชิ าการและนกั กฎหมายท่ีมีจิตสํานึก จึงไมควรทจ่ี ะ ไปรว มงานกบั บรษิ ทั บหุ รี่ ในการขดั ขวางมาตรการควบคมุ ยาสบู
ไมม ใี ครถามหาจรยิ ธรรมของทนายทไี่ ปวา ความใหน กั โทษ ท่ีฆาคนตาย แตผูคนจะถามฝายท่ีไปชวยสนับสนุนการวิ่งเตนของ บริษัทบุหรี่ในการขัดขวางการออกกฎหมายควบคุมยาสูบอยาง แนน อน
จริงอยู บุหรี่เปนสินคาที่ถูกกฎหมาย และเราก็ไมวา จะกันกับการผลิตและขายบุหร่ี หากคาขายตรงไปตรงมาตามที่ กฎหมายบา นเมอื งกาํ หนด
แตที่สงั คมรับไมได คอื การที่บริษทั บุหรี่พยายามขดั ขวาง รฐั บาลประเทศตา งๆ ในการออกกฎหมายควบคมุ สนิ คา เสพตดิ ทฆี่ า คน เพยี งเพอื่ ทจี่ ะปกปอ งผลกาํ ไรทสี่ ดุ จะงดงามของธรุ กจิ นี้ (เฉพาะ ในประเทศไทย ธุรกิจยาสบู มกี าํ ไรเหนาะๆ ปล ะ 1 หม่นื ลา นบาท) โดยไมค าํ นงึ ถึงผลกระทบตอผูสูบ และครอบครวั รวมถงึ สงั คม
ผูเขียนคิดวาการเลา เร่ืองนใ้ี หคนในบา นเมอื งเรารู เพือ่ ให ฝา ยตา งๆ นาํ มาคิดวิเคราะห จะเปน ประโยชนต อ การพิจารณา รา งพระราชบัญญตั คิ วบคมุ ผลิตภณั ฑยาสูบ พ.ศ....ทีก่ ําลงั อยูใน ขน้ั พจิ ารณาของกรรมาธกิ ารใน สนช.ซงึ่ ไดร บั การวงิ่ เตน คดั คา น อยา งหนกั จากบรษิ ทั บหุ รข่ี า มชาติ และองคก รบงั หนา ตลอดสอง ปม านี้
ขอวงิ วอนวา อยา ไปชว ยบรษิ ทั บหุ ร่ี ทาํ รา ยคนไทยมากกวา นอี้ กี เลย ทกุ วนั นค้ี นไทยกต็ ายวนั ละ 140 คน จากโรคทเ่ี กดิ จากการ สบู บุหร่ี แตละคนอายสุ ั้นลง 12 ปโ ดยเฉลีย่ อยแู ลว
นพ.วันชาติ ศุภจัตุรัส อดีตนายกแพทยสมาคมแหง ประเทศไทย และอดตี นายกแพทยสมาคมโลก
SMART 5
[close]
p. 8
สรางกระแส Gen Z ไมสูบบุหรี่
ชวาลา ภวภตู านนท ณ มหาสารคาม
Strong
มลู นิธิรณรงคเพ่อื การไมส บู บุหร่ี รวมสราง Generation Z ปลอดบุหรี่ และสรางกระแสสงั คมใหรวมกนั ปกปอ ง เดก็ และเยาวชนไทย ทผี่ า นมาไดข บั เคลอื่ นและดาํ เนนิ งานในการผลกั ดนั ใหเ กดิ แกนนาํ และเครอื ขา ยเยาวชนทมี่ ศี กั ยภาพใน การขับเคล่อื นงานควบคุมยาสบู กลมุ Gen Z ใน 6 จังหวัด ไดแก ศรีสะเกษ พษิ ณุโลก แมฮ องสอน กระบ่ี ตรัง จันทบุรี เพื่อใหเกิดกระบวนการทํางานที่เปนรูป ธรรมของจงั หวัด ภายใตแนวคดิ การสราง Gen Z : ไม สบู และเกดิ ผลติ ผลจากพนื้ ทนี่ าํ รอ งทง้ั 6 แหง เพอ่ื ขยาย ผลตอ ไป
เพอื่ ใหเ กดิ กระแสอยา งตอ เนอ่ื ง มลู นธิ ริ ณรงค เพ่ือการไมสูบบุหร่ี จึงพัฒนาโครงการขยายผลการ ดาํ เนนิ งานทผี่ า นมาและสรา งกระแสสนบั สนนุ เพอ่ื ให รา ง พ.ร.บ.ควบคมุ ผลิตภัณฑย าสบู ผานเปนกฎหมาย บังคบั ใชใหเ รว็ ทส่ี ุด เพ่ือปกปองเยาวชนและ Gen Z ในอนาคต
6 SMART
[close]
p. 9
หนุน คลอดกฎหมายใหม
GEN Z ศรีสะเกษ
เกิดความรวมมือท้ังผูบริหาร ผูใหญ เยาวชนในจังหวัด และสื่อมวลชน เมื่อผูวาราชการจังหวัดขานรับและมี นโยบายท่ีชัดเจน ใหการสนับสนุนรวมทํา MOU ความรวมมือรณรงคลดปจจัยเส่ียง ดานสขุ ภาพทัง้ บหุ ร่ีและแอลกอฮอล มีการ ขับเคล่ือนงานดานการพัฒนาผูนําเยาวชน รุนใหม Gen Z : Strong ไมส ูบ ไมด่มื ไม เสพ”
Gen Z แมฮ องสอน
Gen Z จงั หวดั แมฮองสอน เปน ทีมประชาสัมพันธในโรงเรียนท่ีเขารวม อบรมการเปนดีเจ Gen Z strong ไม สูบบุหรี่ ที่สถานีวิทยุกระจายเสียงแหง ประเทศไทย (สวท.) และสถานวี ทิ ยกุ ระจาย เสยี งแหง ประเทศไทยเพอ่ื การศกึ ษา (สวศ.) เพมิ่ ทกั ษะการจดั รายการสอดแทรกความรู เรอื่ งพิษภยั ของบุหรี่
Gen Z จนั ทบรุ ี แกนนาํ เยาวชนตน แบบ Gen Z :
ไมส บู ในจงั หวดั จนั ทบรุ ี 30 คน รว มกนั ขบั เคลอ่ื นงานอยา งเปน ระบบ มกี ระบวนการ การสอื่ สารของเยาวชน Gen Z ผา นชอง ทางส่ือทุกประเภท ทงั้ สอ่ื ออนไลน นิตย สารอะเบาทจ นั ท และวทิ ยใุ นจงั หวัด
Gen Z พิษณุโลก เกิดแกนนํา Gen Z ในจังหวัด
จาก 15 โรงเรียน ผานการอบรมเชิง ปฏบิ ัตกิ ารเสรมิ พลัง “วัยรนุ วยั รู สบู ุหรี่ อยา งเขา ใจ” รว มกนั ขับเคลือ่ นงานบูรณา การงานดานควบคุมยาสูบและการปองกัน นักสูบหนาใหมในพ้ืนที่จังหวัดพิษณุโลก อยางตอ เนือ่ ง
Gen Z กระบ่ี
แกนนํา Gen Z จังหวัดกระบี่ เปนนักสื่อสารสรางสรรค เพอ่ื ตานภยั บุหรี่ มือสอง เนื่องจากไดผานการอบรมและ จัดกิจกรรมสรางสรรคเพิ่มศักยภาพและ การขยายเครือขายจิตอาสาฯ โดยมีกลุม เยาวชน Gen Z จากโรงเรียนนํารองใน สงั กดั เทศบาล 3 โรงเรียนดว ยกนั
Gen Z ตรงั
แกนนาํ Gen Z จงั หวัดตรงั ได ดําเนินกิจกรรมสรางเยาวชนแกนนําใน พ้ืนที่ มีโรงเรียนนํารองใน 5 อําเภอ คือ อําเภอหวยยอด อาํ เภอปะเหลยี น อาํ เภอ วังวิเศษ อําเภอนาโยง และอําเภอหาด สําราญ และขยายเพ่ิมขึ้น เพอ่ื สรางแกน นําและทํางานเชื่อมประสานกัน เพ่ือ จงั หวดั ปลอดบุหรต่ี อ ไป
SMART 7
[close]
p. 10
ศูนยสื่อรณรงค มลู นธิ ิรณรงคเ พื่อการไมสูบบุหร่ี
เพ็ญประภา ชริ ะกลุ
8 SMART
[close]
p. 11
ศูนยร วมสอ่ื รณรงคคุณยภคุ าพGen Z
อกี หนง่ึ ของความพยายามในการทาํ งานกบั กลมุ เยาวชนทเี่ รียกตวั เองวา Gen Z เปน ยคุ เด็กที่เกดิ มากับ เทคโนโลยเี ฟอ งฟู โดยสว นใหญ มสี มารท โฟนเปน อวยั วะ ท่ี 33 มคี วามสามารถในการใชเ ทคโนโลยี สื่อสารผา น ขอความบนหนาจอ และโตมากับการอานคอมเมนต ถือวาเปนงานท่ีทาทายความสามารถที่จะนําเสนอผาน ส่ิงเหลา น้ี
มูลนิธิรณรงคเพ่ือการไมสูบบุหรี่ ตระหนักถึง ความตอ งการของเครอื ขา ยและกลมุ เปา หมาย สอื่ รณรงค ท่ีผลิตขึ้นก็จะมีท้ังลักษณะและรูปแบบสื่อกลาง และสื่อ เฉพาะกลุม เพื่อใหเกิดส่ือพรอมใชท่ีตรงกับกลุมเปาหมาย โดยแตละปจะวิเคราะหจากความตองการของเครือขา ยให เกดิ ประโยชนแ ละมปี ระสทิ ธภิ าพมากสงู สดุ มลู นธิ ริ ณรงคฯ พยายามสรา งสรรคส อ่ื รณรงคฯ ใหเ ขา กบั ยคุ และทนั สมยั ท่ี เปลี่ยนไป
หากแตก ารทาํ งานตอ งยดึ หลกั การใหค วามรู ความ เขาใจ เพอื่ นาํ ไปตอ ยอด แตยงั คงคอนเซ็ปตทีว่ างไว โดย ยังคงผลิตสือ่ สงิ่ พมิ พ ท้ังโปสเตอร แผนพับ ชดุ ขอ มลู พดั หมวก สําหรับการรณรงคฯ ท่ีเห็นผลชัดเจนตามหนาส่ือ ออนไลน คลิป VDO โดยใชวัยรุนเปนตัวหลัก เปนแบบ อยางใหกับเด็กรุนใหมๆ ไดเอาไปเปนแบบอยาง เผยแพร ผา นสื่อสังคมออนไลน เพื่อใหทันยุคสมยั
ศูนยส่ือของมูลนิธิรณรงคฯ พรอมสนับสนุน กิจกรรมของเครือขายและภาครัฐ อยางในปน้ี ตามท่ีกรม การขนสง ทางบก กรมควบคมุ โรค สาํ นกั ควบคมุ การบรโิ ภค ยาสูบ กระทรวงสาธารณสุข ไดป ระกาศใหแ ท็กซี่ทกุ คนั ใน กรงุ เทพฯ ท่ลี งทะเบียนตอ งตดิ สติก๊ เกอร “หา มสูบบหุ ร่”ี ถือเปนการบูรณาการการทํางานรวมกันในการคุมครอง สุขภาพของผไู มสูบบุหร่ี
ผูสนใจสามารถขอรับส่ือผานทางเว็บไซต www. smokefreezone.or.th หรือ ขอรับโดยตรงไดที่มูลนิธิ รณรงคเพ่ือการไมสูบบหุ รี่ โทร. 0 - 2278 - 1828
smokefreezone.or.th
SMART 9
[close]
p. 12
พัฒนาผนู ําควบคุมยาสูบ
อุรพี จลุ ิมาศาสตร
กจิ กรรมรณรงคในพ้ืนที่
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู
10 SMART
[close]
p. 13
เกิด
“ผนู ํา”
ดานควบคุมยาสบู
สวนภมู ิภาค
ภารกิจในการสรางและพัฒนาใหเกิดผูนําดานการ ควบคุมการบริโภคยาสูบ ไดดําเนินงานมาอยางตอเนื่องเปน ปท่ี 3 ซึ่งผูเขารวมจะไดเรียนรูกระบวนการผลักดันใหเกิด นโยบายดา นการควบคมุ การบรโิ ภคยาสบู ในระดบั ทอ งถนิ่ อนั นาํ ไปสูการพฒั นางานดานท่ีมปี ระสทิ ธิภาพและยั่งยืน
ในป 2559 นี้ มลู นธิ ริ ณรงคเ พื่อการไมส บู บุหรี่ ไดจดั อบรมผูนําเพมิ่ อีก 1 รนุ เปนรุน ท่ี 5 มผี ผู า นการอบรมจํานวน 26 คนและมโี ครงการในระดับพ้ืนที่จํานวน 9 โครงการ ท้ังยัง ไดจดั เวทแี ลกเปลี่ยนเรียนรู เปดโอกาสใหผ ผู า นการอบรมทัง้ 5 รนุ ไดแ ลกเปลย่ี นกลยทุ ธแ ละประสบการณใ นการขบั เคลอ่ื น นโยบายควบคมุ ยาสบู ในแตล ะพืน้ ท่ี
เมอ่ื วนั ท่ี 31 ตลุ าคม 2559 รวม 93 คน มารว มถอดบท เรยี นการทาํ งานรว มกนั เพอื่ เปน ประโยชนใ นการพฒั นารปู แบบ และขยายนวัตกรรมการสื่อสารเพ่ือขับเคล่ือนนโยบายดานการ ควบคุมการบริโภคยาสูบในระดับทองถ่ิน ผานการนําเสนอใน รปู แบบโปสเตอรจ าํ นวน 19 โครงการ แยกเปน 5 กลุม นโยบาย
ไดแ ก กลมุ นโยบาย วดั มสั ยดิ และสงิ่ แวดลอ มสาํ หรบั เดก็ ปลอด บหุ รี่ นโยบายจังหวัด อาํ เภอ และโรงแรมปลอดบหุ รี่ นโยบาย ตลาด สถานท่ีทองเทีย่ วและสวนสาธารณะปลอดบหุ รี่ นโยบาย งานบุญประเพณี รานคา ปลอดบารากูและบุหรี่ นโยบายสถาน ศกึ ษาปลอดบหุ ร่ี
การดําเนินงานอยางตอ เนือ่ งตลอด 3 ปี มีผผู านการ อบรมทั้งหมด 127 คน เกิดโครงการในการขบั เคลอื่ นนโยบาย ระดับพื้นท่ีจํานวน 36 โครงการ สรางนโยบายในการพัฒนา ทอ งถ่ินไดจ ริงในพนื้ ทจี่ ํานวน 26 โครงการ
การสรางนักขับเคล่ือนนโยบายในชุมชน ยังคงเดิน หนามุงเนนในการพัฒนาใหเกิดนักขับเคลื่อนในระดับวิทยากร (TOT) ผูถา ยทอดกระบวนการในการผลักดนั นโยบายรนุ ตอ รนุ รวมท้ังการอบรมสรางผูนําอยางตอเน่ือง ใหครอบคลุมทั้งกลุม คนทํางานดานการควบคุมยาสูบระดับจังหวัด นักวิชาการ ไป จนถงึ กลมุ เยาวชน
SMART 11
[close]
p. 14
เครือขายสอ่ื มวลชน
วัลภา แกว ศรี
สานสัมพันธส ่ือทอ งถิ่น
12 SMART
[close]
p. 15
“เพอื่ Gen Z ไมสบู ”
ในปน้ี ชว งเวลาดีๆ ไดเกดิ ข้ึน การเช่ือมความสมั พนั ธ ระหวา งส่อื ทองถิ่นท่ัวประเทศ ชวงเวลา 6 ป ท่ไี ดร วมขบั เคลอื่ น งานรณรงคเพื่อปกปองเด็กเยาวชนใหหางไกลจากบุหร่ี ส่ือมี บทบาทสาํ คัญ และมีสว นรวมในการรณรงคไ มส ูบบหุ ร่ี เกิดการ สอ่ื สารไปในทิศทางเดียวกัน
เพ่ือเปนการสานสัมพันธส่ือทุกภาคทุกรุนท่ีผานการ พัฒนาศักยภาพในบทบาทนักรณรงค มูลนิธิรณรงคเพ่ือการไมสูบ บหุ ร่ี ไดจ ัดเวทแี ลกเปลย่ี นเรียนรู 2 ครงั้ มีเครอื ขา ยสือ่ ทองถ่นิ เขารว ม 150 คน จาก 48 จงั หวัดทวั่ ประเทศ โดยครัง้ ท่ี 1 เปน เฉพาะกลมุ ภาคใต จดั เมอ่ื เดอื นตลุ าคมทผ่ี า นมา สอื่ มวลชนในภาค ใตไ ดม โี อกาสเขา รว มการประชมุ บหุ รร่ี ะดบั อาเซยี น ณ จงั หวดั กระบ่ี ครง้ั ท่ี 2 รวมเครอื ขายสอ่ื ทุกภาคจากทัว่ ประเทศใน 3 ภาค ไดจ ดั ไปเมอื่ ตนเดอื นธันวาคมท่ผี า นมา
นับเปนการรวมตัวของสื่อทองถ่ินมากที่สุดเทาที่เคยจัด สัมมนา เพื่อมาพบปะสังสรรคและแลกเปล่ียนประสบการณการ ดําเนินงานในจังหวัดและภูมิภาคระหวางกัน และไดมารับทราบ ทิศทางในการขับเคล่ือนงานเพื่อ Gen Z Gen Strong : ไมสูบ เพื่อเปนแนวทางนําไปขับเคล่ือนการรณรงคในบริบทที่ตนเองทํา ไดอยางตอเนื่อง
จากการแลกเปลี่ยนประสบการณ ไดทราบถึงบทบาท ของสื่อทองถ่ินในหลากหลายบทบาทท่ีอยากเห็นคนรุนใหมของ ประเทศเรามสี ุขภาพดไี มต กเปนทาสของบุหร่ี อาทิ บางทา นเลิก บุหรี่เปนตนแบบท่ีดี และนําประสบการณตรงมาเลาผานรายการ จนมแี ฟนรายการเลกิ บุหร่ไี ด หรอื บางคนเปดโอกาสใหเ ดก็ ๆ ไดฝ ก ทักษะการเปนดีเจในสถานการณจริงๆ นําขอมูลการรณรงคไมสูบ บหุ ร่มี าจดั รายการ สอดแทรกสาระผานสื่อออนไลนตา งๆ มากมาย ในหลากหลายชอ งทาง
สื่อทองถ่ินจึงเปนผูมีบทบาทสําคัญ มีความใกลชิดกับ ชุมชน เขาถงึ คนในชมุ ชนไดม ากกวา ส่อื สว นกลาง ส่ือมวลชนทอ ง ถ่ินจะเปนตัวกลางเชื่อมขอมูล รวมถึงการสรางกระแสจัดกิจกรรม รณรงคต างๆ ไดอยางมปี ระสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลอยางย่ิง และ หนา ทข่ี องมลู นธิ ริ ณรงคฯ จะไดข ยายการสนบั สนนุ สอื่ ใหค รอบคลมุ ท่ัวประเทศ เพื่อเด็กยุค Gen Z และเยาวชนของประเทศไทย ปลอดภัยจากบริษัทบุหรี่ ท่ีตองการลาลูกคารายใหมซึ่งเปนลูกคา ท่สี ําคัญของพวกบรษิ ัทบหุ รี่ ขอชื่นชมสื่อทกุ ๆ ทา นท่ีรวมกันทาํ สิ่ง ดีๆ เพอ่ื ประเทศชาติของเรา
SMART 13
[close]